- ปรับปรุงรายงานสรุปรายการทางบัญชี แสดงตามรหัสบัญชี(AP) – ระบบบัญชีเจ้าหนี้ (AP) : เพิ่มแสดงเลขที่ใบแจ้งหนี้
- ปรับปรุงรายงานตรวจสอบรายการตั้งหนี้,เพิ่มหนี้,ลดหนี้ – ระบบบัญชีเจ้าหนี้ (AP)
- เพิ่มจอภาพตรวจสอบลูกค้า – ระบบบัญชีลูกหนี้ (AR),ระบบควบคุมการจัดจำหน่าย (CO)
- เพิ่ม Feature การกำหนด Permission Control
- แก้ไขการทำงานผิดพลาดของโปรแกรม 1 เรื่อง (Bug Fixed)
เพิ่มเงื่อนไขการคัดกรองข้อมูลให้สามารถเลือกประเภทรายการ ได้แก่ ประเภทใบสำคัญตั้งหนี้, ใบเพิ่มหนี้, ใบลดหนี้ และสามารถเลือกดูได้ทั้งที่ผ่านรายการและยังไม่ผ่านรายการได้
เพิ่มจอภาพตรวจสอบลูกค้า ซึ่งสามารถตรวจสอบข้อมูลต่าง ๆ ได้ดังนี้
2. ข้อมูลวิเคราะห์หนี้, การให้วงเงินเครดิต และรายละเอียดที่ใช้ในการวิเคราะห์เครดิตคงเหลือ ได้แก่ ยอดวงเงินสินเชื่อ, ยอด Order คงค้าง, ยอดใบแจ้งหนี้ยังไม่ผ่านรายการ, ยอดใบแจ้งหนี้คงค้าง, ยอดเช็ค/เงินสดรอนำฝาก และยอดเช็ค/เงินสด/เงินโอนรอกระทบยอด
3. ข้อมูล Order คงค้าง ซึ่งแสดงรายละเอียดที่ลูกค้าสั่งซื้อสินค้าและประวัติการจัดส่งสินค้า และยังสามารถตรวจสอบสถานะสินค้าคงคลังของรายการสินค้าที่ค้างส่งได้ด้วย
4. ข้อมูลใบแจ้งหนี้คงค้าง ซึ่งแสดงทั้งใบแจ้งหนี้ที่ยังไม่ผ่านรายการ และที่ผ่านรายการแล้ว พร้อมทั้งแสดงเลขที่ และวันที่ใบวางบิลกรณีที่บันทึกรายการวางบิลแล้ว
5. ข้อมูลความเคลื่อนไหว ได้แก่ รายการส่งสินค้า, รายการใบแจ้งหนี้, รายการเพิ่มหนี้, รายการลดหนี้, รายการรับชำระ ซึ่งสามารถกำหนดช่วงเวลาที่ต้องการตรวจสอบได้ หรือสามารถระบุเลขที่ใบแจ้งหนี้ หรือเลขที่คำสั่งขายที่ต้องการตรวจสอบได้ ซึ่งโปรแกรมจะแสดงรายการทุกประเภทที่เกี่ยวข้องกับใบแจ้งหนี้หรือคำสั่งขายที่ต้องการตรวจสอบ
สำหรับ Version นี้เพิ่มให้สามารถกำหนดสิทธิ์การใช้งานตามระดับ Object ซึ่งได้แก่ ฟิลด์, ปุ่มกด, Grid, Tab แยกแต่ละจอภาพได้ โดยสามารถกำหนด Status ในการใช้งานของ Object ต่าง ๆ ได้ดังนี้
1. Default คือ ไม่กำหนดสิทธิ์
2. Inactive และ Grayed คือ กำหนดให้แสดง Object ให้เห็นแต่คลิกเข้าใช้งานไม่ได้
3. Invisible คือ การซ่อน Object
การเข้าถึงการ Set Permission จะต้องเป็นรหัสผู้ใช้งานระดับ Supervisor มีวิธีการ Set ตามคลิกด้านล่าง
BySide Permission Control 01
BySide Permission Control 02
รายการ | ระบบงาน | รายละเอียด |
---|---|---|
1 | ควบคุมการจัดจำหน่าย | แก้ไขจอภาพสร้างรายการใบแจ้งหนี้ค่าขนส่ง ให้ใช้จำนวนส่งจริงไปสร้างเป็นใบตั้งเจ้าหนี้ค่าขนส่ง |
ใส่ความเห็น